รู้ทันเทคโนโลยี ก้าวตามโลกยุคใหม่ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กับชีวิตประจำวัน
รู้ทันเทคโนโลยี ในปัจจุบันที่โลกของเรา มีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ทุกอย่างในชีวิตประจำวันของเรา ก็มีการปรับเปลี่ยน พร้อมทั้งยังมีแรงขับเคลื่อนในการใช้ชีวิตสู่อนาคต ไปกับเทคโนดลยีใหม่ๆ ที่อำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตของเรามากขึ้น และในทุกๆวัน เทคโนโลยีก็มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราต้องเรียนรู้ และปรับตัวในทันต่อการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี ซึ่งอย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี เองก็มีทั้งประโยชน์และโทษของมันอยู่แล้ว เพื่อทำให้เรานั้น ใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด เราก็จะมาทำความรู้จัก และมาทำความเข้าใจกับ เทคโนโลยีได้มีอย่างมีประโยชน์ และปลอดภัย
บอกเลยว่าสำหรับยุคที่ ถูกครองด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ผู้คนหลายๆคนเอง ก็ตามรับรู้ และได้ใช้กันอย่างแพร่หลาย หลายๆอย่างเริ่มสะดวกสบายมากขึ้น ทั้งของใช้ในครัวเรือน ยานยนต์ และอีกมากมาย ที่ได้เข้ามามีบทบาทให้ชีวิตประจำวันของเราอย่างแท้จริง ซึ่งมันตอบโจทย์ต่อการใช้งานให้กับคนรุ่นใหม่อย่างมาก และสิ่งที่มองเห็น และใกล้ตัวเรามากๆ คงไม่พ้นสื่อสังคมออนไลน์ การสื่อที่สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว คล่องตัวได้ทั่วโลก และหากจะนับถึง นวัตรกรรมที่เกิดขึ้นมาใหม่ ๆ ทำให้เราได้เรียนรู้ และขับเคลื่อนไปพร้อมๆกับเทคโนโลยีใหม่ๆ แบบไม่มีหยุด
รู้ทันเทคโนโลยี เรียนรู้เทคโนโลยี ไปกับการ รู้เท่าทันสื่อ
ปัจจัยหลักของการเรียนรู้ที่ควร จะทำความเข้าใจและควรเรียนรู้และตามให้ทัน ก็คือ สื่อออนไลน์ โดยแนวคิดในการที่จะ รู้เท่านั้นสื่อ นั้นก็ได้ถือกำเนิดมาพร้อมกับ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทางด้านการสื่อสารที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยก็จะเริ่มตั้งแต่ สื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ในระบบแอนะล็อก(Analog) จนก้าวมาสู่ยุคสารสนเทศที่สื่อต่าง ๆ สื่อสารผ่านระบบดิจิทัล อันเป็นยุคที่สื่อต่าง ๆ ที่ถูกรวมเข้าด้วยกัน
และด้วยความก้าวหน้าในเรื่องนี้เอง ก็ทำให้การสื่อสารง่ายขึ้น โดยไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ใดบนโลก มุมไหน ห่างไกลกันเพียงแค่ก้สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร และได้เข้าถึงกันแบบง่ายๆที่สุด และในเรื่องของการสื่อสาร พูดคุยกันในระยยไกลที่ตอนนี้ก็ต้องยอมรับเลยว่า มีการพัฒนามาไกลมากกว่าในอดีตอย่างแท้จริง
และด้วยเหตุผลที่ความก้าวหน้าของสื่อนี่เอง ทำให้หลายๆคนก้มักจะตั้งคำถามออกมาว่า มันส่งผลดี หรือไม่ดีในการรับรู้ข่าวสาร ในสื่อต่างๆ เพราะเนื้อข่าวที่ที่ให้เราได้เสพกันนั้น ก็มีข่าวสารที่เราได้เสพสารนั้นโดยไม่วิเคราะห์ให้ถี่ถ้วนกับเนื้อหาข้อมูล ปริมาณมหาศาลที่สื่อนำเสนอ จากสภาพ
และในเมื่อทุกคนไม่สามารถหลีกเลี่ยงฐานะของผู้รับสารที่ต้องเผชิญกับรับข้อมูล ทำให้ข่าวสารจำนวนมากที่สื่อนำเสนอมาด้วยวัตถุประสงค์ต่าง ๆ การรู้เท่าทันสื่อจึงเป็นกลไกที่สำคัญและจำเป็น ดังนั้นเราต้องปกป้องตัวของเรา โดยต้องรู้ให้เท่าทันสื่อ เพราะถ้าเราเลือกที่จะไม่เปิดรับสารและสื่อเลย เราก็อาจจะพลาดข้อมูลที่สำคัญสำหรับการดำรงชีวิตของเราได้ เราจะแนะนำ 4 องค์ประกอบหลัก
- ความสามารถในการเข้าถึงสื่อและสาร ก็คือ ความสามารถในการแสวงหาแหล่งที่มา และในการเลือกและการจัดการ การคัดกรอง การถอดรหัสของข้อมูลข่าวสาร ที่จะมาในสื่อประเภทต่างๆ รวมถึงความสามารถในการใช้สื่อและเทคโนโลยีต่างๆ เช่น สิ่งพิมพ์ วิดีโอ คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต
- ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อและสาร ก็คือ ความสามารถในการเข้าใจสื่อและเนื้อหาของสาร ที่จะสามารถตีความ มีการจัดประเภท พร้อมยังกำหนดรูปแบบของงาน โดยใช้การวิเคราะห์ และอนุมานเหตุและผล ซึ่งอาศัยพื้นฐานความรู้เดิม ประสบการณ์ และยังมีการตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อ และเนื้อหาสาร รวมถึงความสามารถในการบอกจุดประสงค์ของผู้ผลิตสื่อได้
- ความสามารถในการประเมินสื่อและสาร ก็คือ ความสามารถในการตัดสินคุณค่า และจะมีความมีประโยชน์ของสารต่อผู้รับสาร โดยจะใช้การประเมินสื่อ และสารยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในตนเอง และยังอาศัยพื้นฐานความรู้เดิม ที่มีมาแปลความหมายของสาร รวมถึงการระบุค่านิยมและคุณค่าของสาร และชื่นชมคุณภาพของงานในเชิงสุนทรียะทางศิลปะ
- ความสามารถในการสร้างสรรค์สื่อและสาร ก็คือ ความสามารถในการเข้าใจ และตระหนักรู้ถึงความสนใจของผู้รับสาร โดยสามารถสร้างสารที่เป็นรูปแบบของตนเอง โดยจากเครื่องมือและสื่อที่หลากหลาย โดยใช้การจัดลำดับขั้นของความคิด การใช้สัญลักษณ์ในการสื่อสาร และใช้ทักษะการผลิตสื่อ เช่น การทบทวนแก้ไข การพิมพ์ การผลิตและตัดต่อวิดีโอ การพูด เป็นต้น
แนวทางการใช้ เทคโนโลยี อย่างปลอดภัย รู้เท่าทันเทคโนโยลีสมัยใหม่
สำหรับอัตราการของการเพิ่ม ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตทั่วโลกสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในช่วงอายุของผู้ใช้งานของ สื่อสังคม และเทคโนโลยีในปัจจุบันที่มีการใช้งาน กว้างขวางมากขึ้น และจะมีวัยเด็กจนถึงผู้สูงวัย ที่จะมีอินเทอร์เน็ตเพื่อช่วยให้สามารถค้นหาข้อมูล ที่ต้องการการติดต่อสื่อสารทำได้สะดวก
และในขณะเดียวกันโดยอินเทอร์เน็ต ซึ่งก็จะมีการสร้างปัญหาหลายประการให้กับผู้ใช้งานด้วย เช่น ปัญหาทางด้านสุขภาพ เวลา และความเป็นส่วนตัว พร้อมทั้งยังรวมถึงยังสร้างปัญหา ที่จะนับว่าเป็นภัยสังคมอีกจำนวนไม่น้อย เช่น ปัญหาการล่อลวง ปัญหาการคุกคามทางเพศ ปัญหาการส่งข้อความ หรือจะมีรูปภาพที่ผิดต่อหลักจริยธรรม ศีลธรรม และกฎหมาย ปัญหาการพนัน ปัญหาการวิจารณ์ และละเมิดสิทธิ์ของผู้อื่น
ซึ่งสำหรับการที่เราจะเรียนรู้ได้ กับเนื้อหาที่มีการพบเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม เพราะในการใช้งานอินเทอร์เน็ตนักเรียนจะพบข้อมูลที่หลากหลาย ทั้งข้อมูลที่ถูกต้อง และข้อมูลที่มีการบิดเบือน หรือจะมีการสร้างขึ้นเพื่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น หรือส่วนรวม ถ้าเจอข้อมูลที่ไม่เหมาะสม เราควรทำอย่างไร
- การปฏิเสธการรับข้อมูล ที่จะสามารถทำได้โดยไม่เปิดดู ไม่บันทึกเก็บไว้ และไม่กดไลก์ (Like) เพราะการกระทำเหล่านี้ก็จะถือว่าเป็นแนวทางที่ป้องกัน ไม่ให้ข้อมูลดังกล่าวเผยแพร่ไปสู่ผู้อื่น
- ไม่ส่งต่อ ไม่แชร์ ไม่เผยแพร่ เพราะนอกจากจะทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนกับข้อมูลที่ไม่เป็น ความจริงแล้ว ในบางกรณีอาจเข้าข่าย ก็อาจจะทำผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการ กระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีโทษ ทั้งจำและปรับ
- แจ้งครูหรือผู้ปกครอง เพราะถ้าหากนักเรียนประสบปัญหา ที่จะไม่สามารถจัดการหรือแก้ไขได้เอง ให้แจ้งครูหรือผู้ปกครองเพื่อดำเนินการแก้ไข หรือติดต่อประสานงานกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำเดิมไม่สิ้นสุด
- ถ้าจะแจ้งผู้เกี่ยวข้อง ที่จะเกี่ยวกับการดูแลเว็บไซต์นั้น หากมีกรณีที่ใช้งานข้อมูล จากผู้ให้บริการระบบรายใหญ่ เช่น Facebook, YouTube ซึ่งสำหรับเว็บไซต์เหล่านี้ ก็อาจจะเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถรายงานปัญหา เกี่ยวกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น เนื้อหาที่มีการคุกคาม ทางเพศเนื้อหาเกี่ยวกับความรุนแรงส่งเสริมการก่อการร้าย การละเมิดลิขสิทธิ์หลั งจากผู้ให้บริการได้รับแจ้ง จะมีการตรวจสอบเนื้อหา ดังกล่าวอย่างถี่ถ้วน และดำเนินการกับผู้กระทำผิด เช่น ลบเนื้อหา ตัดสิทธิ์ (Block) หรือจำกัดสิทธิ์การใช้งาน
- ทำการแจ้งเจ้าหน้าที่รัฐหรือตำรวจ หากผู้ดูแลระบบไม่จัดการ กับปัญหาที่เกิดขึ้น ให้ประสานงาน กับหน่วยงานรัฐที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง เช่น แจ้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม
การรักษาข้อมูลส่วนตัว รับมือให้ทันกับ โลกไซเบอร์
ต้องบอกเลยว่า เรื่องของความปลอดภัยที่เราจะ ทำการปกป้องข้อมูลส่วนตัวของเรานั่น ถือว่าเป็นเรื่องที่เราต้องใส้ใจ เพราะข้อมุลส่วนตัวของเรา หากเผยแพร่ ออกไปก็อาจจะทำให้มีมิจฉาชีพเอาไป ทำให้เกิดเรื่อง เกิดปัญหาได้ แต่การสมัครสมาชิกของยุคปัจจุบัน มักจะต้องใช้ข้อมูลของเราลงไปจริงๆ ถือว่าเป็นการยืนยันตัวตน ดังนั้นเราจะมีวิธีใดบ้าง ที่จะรักษาความปลอดภัยทางดิจิทัล โดยมีความสำคัญดังนี้
- ในเรื่องของการรักษาความเป็นส่วนตัวและความลับ ซึ่งถ้าหากไม่ได้รักษาความปลอดภัย ให้กับอุปกรณ์ดิจิทัล ข้อมูลส่วนตัว และข้อมูลที่เป็นความลับอาจจะรั่วไหลหรือถูกโจรกรรมได้
- การป้องกันการขโมยอัตลักษณ์ ในการขโมยอัตลักษณ์ ก็เริ่มที่จะมีจำนวนที่มากขึ้นในยุคข้อมูลข่าวสาร โดยเนื่องจากมีการ ทำธุรกรรมทางออนไลน์มากยิ่งขึ้น และผู้คนเริ่มทำการชำระค่าสินค้าผ่านสื่ออินเทอร์เน็ต และทำธุรกรรมกับธนาคารทางออนไลน์ เพราะหากไม่มีการรักษาความปลอดภัย ที่เพียงพอ มิจฉาชีพ ก็อาจจะทำการล้วงข้อมูล ที่เกี่ยวกับบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งาน ไปสวมรอยทำธุรกรรมได้ เช่น ไปซื้อสินค้า กู้ยืมเงิน หรือสวมรอยรับผลประโยชน์ และสวัสดิการ
- การป้องกันการโจรกรรมข้อมูล เพราะเนื่องจากข้อมูลต่าง ๆ เราก็มักเก็บรักษาในรูปของดิจิทัล ที่ไม่ว่าจะเป็นเอกสารภาพถ่าย หรือคลิปวิดีโอ ข้อมูลเหล่านี้อาจจะถูกโจรกรรมเพื่อนำไปขายต่อ แบล็กเมล์ หรือเรียกค่าไถ่
- เพื่อป้องกันความเสียหายของข้อมูล และอุปกรณ์ สำหรับภัยคุกคามทางไซเบอร์ ก็อาจจะ มีการส่งผลเสียต่อข้อมูล และอุปกรณ์ดิจิทัลได้ โดยผู้ไม่หวังดีบางรายอาจมุ่งหวัง ที่ให้เกิดอันตรายต่อข้อมูล และอุปกรณ์ที่เก็บรักษามากกว่า ที่จะโจรกรรมข้อมูลนั้น โดยสำหรับภัยคุกคามอย่าง ไวรัสคอมพิวเตอร์ โทรจัน และมัลแวร์ สร้างความเสียหายร้ายแรงที่จะให้ กับคอมพิวเตอร์ หรือระบบปฏิบัติการได้
สาระไอที : smartphone
ผู้สนับสนุน :คลิ๊ก!!